ทฤษฎี z ของ ouchi
ทฤษฎีนี้เป็นทฤษฎีลูกผสมระหว่างญี่ปุ่นกับอเมริกัน คุณวิลเลียม โอชิ ซึ่งเป็นชาวซามูไร เป็นคนคิดขึ้นมา ลองศึกษาแนวคิดของเขา เผื่อบางทีจะได้ปิ๊งไอเดีย เกิดเป็นทฤษฎีพันธ์ผสมใหม่ขึ้นมาอีกก็ได้
นักบริหารต้องคิดนอกกรอบเสมอ
นักบริหารต้องคิดนอกกรอบเสมอ
ทฤษฎี Z บางตำราอาจจะเรียกว่ากลุ่มทฤษฎีร่วมสมัย เป็นทฤษฎีที่มองเห็นว่าการจูงใจคนนั้นต้องเป็นไปตามสถานการณ์ แต่ทฤษฎีร่วมสมัยบางอย่างที่เกิดขึ้นมาใหม่ก็ยังไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็นทฤษฎี แต่อยู่ระหว่างการศึกษาทดลองเพื่อปรับให้เป็นทฤษฎี เช่น ทฤษฎี Z ซึ่งเกิดจากคนอเมริกัน ที่มีเชื้อสายญี่ปุ่น ชื่อ วิลเลี่ยม โอชิ ได้ศึกษาวิจัยว่า แนวความคิดในการบริหารจัดการของโลกนั้น แบ่งออกเป็น 2 ค่าย คือ ค่ายอเมริกัน และค่ายญี่ปุ่น โดยสาเหตุที่ต้องศึกษาเช่นนั้น เพราะเขามองว่า ในค่ายอเมริกันนั้น มักประสบความสำเร็จในธุรกิจโดยเฉพาะก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 และเป็นผู้ที่ชนะสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกด้วย ผลปรากฏว่า ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นนั้นแม้จะเป็นประเทศที่ขาดดุลทางการค้าแก่อเมริกาแต่ได้ปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้นมา จนสามารถเป็นยักษ์ใหญ่ในโลกเศรษฐกิจในปัจจุบันได้ คล้ายกับว่า อเมริกันนั้นขาดดุลการค้ากับญี่ปุ่นอย่างย่อยยับ ดังนั้นวิลเลี่ยม จึงศึกษาถึงจุดดีของการบริหารจัดการจากสองค่ายนำมาสร้างเป็นแนวคิดขึ้นมาเมื่อไม่นานมานี้ การที่จะทำความเข้าใจทฤษฎี Z ได้นั้น ต้องทำความเข้าใจของทฤษฎี A และทฤษฎี J ก่อน
ทฤษฎี A คือ Amarican Theory เป็นทฤษฎีว่าด้วยการบริหารจัดการร่วมสมัยตามแบบของอเมริกา ซึ่งให้หลักการว่า การบริหารจัดการแบบนี้ ต้องอาศัยการจัดการจากพื้นฐานของบุคคล ของผู้บริหารที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งในทฤษฎีนี้มีหลักสำคัญ 3 ประการ คือ
1.) Individualism คือ การที่สังคมอเมริกันเป็นสังคมแบบ ปัจเจกบุคคล ซึ่งจะมีความรับผิดชอบต่อตัวเองมาแต่อดีต และเมื่อคนต่างชาติโดยเฉพาะคนตะวันออกเข้าไปอาศัยในอเมริกันก็จะสังเกตว่า คนอเมริกันเป็นคนโดดเดี่ยว มีสุงสิงกับใคร สังคมแบบ Individualism ส่งผลให้เกิดบุคลากรที่มีความรับผิดชอบในหน่วยงานสูง แต่ก็เกิดผลเสียคือ ไม่เกิดความผูกพัน หรือเป็น
2.)Short Term Employment คือ การจ้างงานในระยะสั้น คนอเมริกันมักไม่มีความผูกพันในครอบครัว ในที่ทำงาน พร้อมเสมอที่ออกจากงาน ย้ายงาน จึงมักมีบริการให้เช่าสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมองว่าต้นทุนในการขนย้ายเฟอร์นิเจอร์เมื่อย้ายงาน ออกจากบ้าน จะมีค่าใช้จ่ายสูงกว่าค่าเช่า นอกจากนั้น คนอเมริกันยังมีลักษณะที่เป็น
3.)Individual Decision Making สูง มีความมั่นใจในการตัดสินใจ กล้าตัดสินใจ ทำให้ผู้บริหารไม่ต้องไปดูแลอย่างใกล้ชิด ผลเสียคือ ขาดการทำงานเป็นทีม
1.) Individualism คือ การที่สังคมอเมริกันเป็นสังคมแบบ ปัจเจกบุคคล ซึ่งจะมีความรับผิดชอบต่อตัวเองมาแต่อดีต และเมื่อคนต่างชาติโดยเฉพาะคนตะวันออกเข้าไปอาศัยในอเมริกันก็จะสังเกตว่า คนอเมริกันเป็นคนโดดเดี่ยว มีสุงสิงกับใคร สังคมแบบ Individualism ส่งผลให้เกิดบุคลากรที่มีความรับผิดชอบในหน่วยงานสูง แต่ก็เกิดผลเสียคือ ไม่เกิดความผูกพัน หรือเป็น
2.)Short Term Employment คือ การจ้างงานในระยะสั้น คนอเมริกันมักไม่มีความผูกพันในครอบครัว ในที่ทำงาน พร้อมเสมอที่ออกจากงาน ย้ายงาน จึงมักมีบริการให้เช่าสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมองว่าต้นทุนในการขนย้ายเฟอร์นิเจอร์เมื่อย้ายงาน ออกจากบ้าน จะมีค่าใช้จ่ายสูงกว่าค่าเช่า นอกจากนั้น คนอเมริกันยังมีลักษณะที่เป็น
3.)Individual Decision Making สูง มีความมั่นใจในการตัดสินใจ กล้าตัดสินใจ ทำให้ผู้บริหารไม่ต้องไปดูแลอย่างใกล้ชิด ผลเสียคือ ขาดการทำงานเป็นทีม
ทฤษฎี J คือ การบริหารจัดการแบบญี่ปุ่น ซึ่งมีลักษณะที่เรียกว่า 1.) การจ้างงานตลอดชีวิต หรือ Lifetime Employment มีการเลื่อนตำแหน่ง มีความผูกพันกัน เพราะฉะนั้นการเลี้ยงคนแบบญี่ปุ่นจะส่งเสริมให้มีการฝึกงานอย่างค่อยเป็นค่อยไป แต่ผลเสียคือ ต้องเลี้ยงคนที่มีประสิทธิภาพการทำงานต่ำไว้ในหน่วยงานจนตลอดชีวิตด้วยเช่นกัน ก่อให้เกิดผลเสียต่อองค์การ ลักษณะประการที่สองของการบริหารจัดการแบบญี่ปุ่น คือ ต้องมี Concential Decision Making คือ การตัดสินที่ต้องได้รับการยอมรับจากที่ประชุม ซึ่งเป็นผลดี แต่ผลเสีย คือ อาจเกิดความล่าช้า
วิลเลี่ยม โอชิ มองเห็นข้อดีและข้อเสียของ 2 ทฤษฎีตัวอย่าง แล้วนำข้อดีข้อเสียนั้นมาวิเคราะห์สร้างเป็นทฤษฎีร่วมสมัย ที่เรียกว่า Blend Together หรือการนำมาผสมผสานให้เป็นหนึ่งเดียวกัน เรียกว่า ทฤษฎี Z ซึ่งเป็นแนวคิดของการบริหารจัดการเชิงจินตนาการ โดย
1.) ใช้วิธีแบบ Long Term Employment หรือการจ้างงานระยะยาวขึ้น ซึ่งเป็นทางสายกลาง คือ ไม่ต้องจ้างตลอดชีวิตแต่ก็ไม่ใช่การจ้างแบบระยะสั้น แต่เน้นการจ้างในระยะเวลาที่นานพอสมควรแล้วสร้างความผูกพัน
2.) ประการที่สอง จะต้องมีลักษณะที่เรียกว่า Individaul Responsibility คือ จะต้องมีความรับผิดชอบส่วนบุคคล ซึ่งนำเอาหลักแนวคิดแบบอเมริกันมาใช้กับบุคลากรในหน่วยงานให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง กล้าตัดสินใจ ไม่ต้องขึ้นอยู่กับผู้บริหารมากจนเกินไป
3.) และประการที่ 3 คือ ต้องมี Concential Decision Making คือ การตัดสินใจต้องทำเป็นทีม ต้องมีการพูดคุย ถึงผลดีผลเสียของการบริหารจัดการแบบต่างๆ
หรือถ้ายังไม่จุใจก็ใช้คำว่า theoty z หรือ williamouchiเป็นคีย์เวิร์ดในการค้นหา รับรองได้ว่าเปิดDictionary กันมือบวมแน่ แล้วอย่าลืมสร้างทฤษฎีพันธ์ใหม่ขึ้นมา
วิลเลี่ยม โอชิ มองเห็นข้อดีและข้อเสียของ 2 ทฤษฎีตัวอย่าง แล้วนำข้อดีข้อเสียนั้นมาวิเคราะห์สร้างเป็นทฤษฎีร่วมสมัย ที่เรียกว่า Blend Together หรือการนำมาผสมผสานให้เป็นหนึ่งเดียวกัน เรียกว่า ทฤษฎี Z ซึ่งเป็นแนวคิดของการบริหารจัดการเชิงจินตนาการ โดย
1.) ใช้วิธีแบบ Long Term Employment หรือการจ้างงานระยะยาวขึ้น ซึ่งเป็นทางสายกลาง คือ ไม่ต้องจ้างตลอดชีวิตแต่ก็ไม่ใช่การจ้างแบบระยะสั้น แต่เน้นการจ้างในระยะเวลาที่นานพอสมควรแล้วสร้างความผูกพัน
2.) ประการที่สอง จะต้องมีลักษณะที่เรียกว่า Individaul Responsibility คือ จะต้องมีความรับผิดชอบส่วนบุคคล ซึ่งนำเอาหลักแนวคิดแบบอเมริกันมาใช้กับบุคลากรในหน่วยงานให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง กล้าตัดสินใจ ไม่ต้องขึ้นอยู่กับผู้บริหารมากจนเกินไป
3.) และประการที่ 3 คือ ต้องมี Concential Decision Making คือ การตัดสินใจต้องทำเป็นทีม ต้องมีการพูดคุย ถึงผลดีผลเสียของการบริหารจัดการแบบต่างๆ
หรือถ้ายังไม่จุใจก็ใช้คำว่า theoty z หรือ williamouchiเป็นคีย์เวิร์ดในการค้นหา รับรองได้ว่าเปิดDictionary กันมือบวมแน่ แล้วอย่าลืมสร้างทฤษฎีพันธ์ใหม่ขึ้นมา
รูปแบบการบริหารจัดการแบบญี่ปุ่น (Japanese Management Style) หรือ NihontekiKeieiได้มีการกล่าวถึงอย่างมากในประเทศแถบตะวันตก ซึ่งมีความแตกต่างที่สำคัญระหว่างเทคนิคการบริหารจัดการแบบญี่ปุ่นและการบริหารจัดการในประเทศแถบตะวันตก กล่าวคือการบริหารจัดการแบบญี่ปุ่นจะมีการตัดสินใจเป็นเอกฉันท์ (Consensus in Decision-making) มีความมั่นคงในอาชีพการงาน (Career Job Security) ระบบการเลื่อนตำแหน่งและการจ่ายค่าตอบแทนแบบค่อยเป็นค่อยไป (A Slow Pay and Promotion system) และเป็นไปตามลำดับความอาวุโส มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของพนักงาน รวมถึงมีการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) ซึ่งปัจจุบันนี้การเรียนรู้ระบบการบริหารจัดการแบบญี่ปุ่นได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในประเทศแถบตะวันตก
การบริหารจัดการตนเองในบริษัทญี่ปุ่น (Management Autonomy in Japanese Companies) ข้อได้เปรียบที่สำคัญประการหนึ่งของการบริหารจัดการในบริษัทญี่ปุ่นซึ่งเหนือกว่าการบริหารจัดการในบริษัทอเมริกา คือ ความสัมพันธ์กับผู้ถือหุ้น (Shareholders) เนื่องจากบริษัทในญี่ปุ่นจะมีลักษณะของการแข่งขันกัน โดยผู้บริหารจะทุ่มเทเวลาในการทำงานเพื่อแข่งขันกับบริษัทอื่นทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยปราศจากความกังวลเกี่ยวกับความพึงพอใจและผลประโยชน์ตอบแทนของผู้ถือหุ้น การบริหารจัดการจะไม่เอื้อประโยชน์ต่อพนักงานที่ทำงานหรือสร้างผลผลิตให้กับบริษัทได้น้อย นอกจากนี้ผู้เป็นเจ้าของบริษัทญี่ปุ่น จะมีอิทธิพลต่อบริษัทอย่างมาก ซึ่งตรงกันข้ามกับประเทศแถบตะวันตก Matsumoto ได้กล่าวไว้ว่า “การบริหารจัดการตนเอง (Managerial Autonomy) เป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้บริหารระดับสูงของระบบในบริษัทญี่ปุ่น (Japanese Corporate System) จะต้องดำเนินการบริหารจัดการตนเอง ซึ่งเป็นหลักสำคัญของระบบทุนนิยม”ในประเทศแถบตะวันตก ผู้เป็นเจ้าของจะไม่เข้าไปเกี่ยวข้องในการบริหารจัดการบริษัท ซึ่งในบริษัทอเมริกาผู้อำนวยการ (Directors) จะแต่งตั้งคณะกรรมการจากภายนอกบริษัท โดยคณะกรรมกาจะทำหน้าที่ควบคุมตรวจสอบ (Monitor) การดำเนินงานของบริษัท และเข้าแทรกแซงในกรณีที่มีการบริหารงานผิดพลาดหรือไม่มีประสิทธิภาพ (Mismanagement) ผู้ถือหุ้นชาวอเมริกันคาดหวังที่จะได้รับผลตอบแทนจากผลกำไรของบริษัทในลักษณะของการจ่ายเงินปันผล (Dividend Payments) บริษัทอเมริกาส่วนใหญ่จะพิจารณาจ่ายเงินปันผลในอัตรา 50% ของผลกำไร ซึ่งอัตราและระดับของการจ่ายเงินปันผลจะเป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ และแสดงถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของบริษัท
การบริหารจัดการในบริษัทของสหรัฐอเมริกาจะใช้วิธีการจูงใจให้ผู้บริหารปรับปรุงผลกำไรอยู่เสมอโดยการให้ผลประโยชน์แก่ผู้บริหารในรูปของการถือหุ้น สิทธิในการถือหุ้นของบริษัท (Stock Options) และผลกำไรอื่น ๆ เช่น แผนการจ่ายโบนัส เพื่อเป็นรางวัลแก่ผู้บริหารระดับสูงที่สามารถบริหารจัดการบริษัทให้ได้รับผลกำไร เนื่องจากตลาดหุ้นของอเมริกามีแนวโน้มในการจ่ายผลกำไรต่อหุ้นสูง ผู้บริหารระดับสูงจึงได้รับการกระตุ้นให้ปรับปรุงผลกำไรให้เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ การเปลี่ยนแปลงในผลกำไรมีผลกระทบต่อราคาหุ้น ดังนั้นจึงสัมพันธ์กับการบริหารจัดการโปรแกรมการจ่ายโบนัส ระบบบริษัทอเมริกันเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดในการร่วมมือกันระหว่างผู้ถือหุ้นและผู้บริหารระดับสูงของบริษัท โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บริษัทมีผลกำไรสูงสุด ผู้ถือหุ้นต้องอาศัยการทำงานของผู้บริหารระดับสูงอย่างมาก โดยพวกเขาจะให้รางวัลแก่ผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จในการเพิ่มผลกำไร ซึ่งผู้บริหารระดับสูงของบริษัทอเมริกาก็จะได้รับผลตอบแทนที่คุ้มค่าเช่นกัน
สำหรับสถานการณ์ในบริษัทญี่ปุ่นจะมีความแตกต่างจากบริษัทอเมริกัน โดยผู้ถือหุ้นสามัญ (Common Stock Shareholders) ของบริษัทญี่ปุ่นจะคล้ายกับผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock Shareholders) ของบริษัทอเมริกา ซึ่งผู้ถือหุ้นของบริษัทญี่ปุ่นจะคาดหวังผลตอบแทนที่เหมาะสมจากการลงทุนในรูปของเงินปันผล อย่างไรก็ตามการจ่ายเงินปันผลไม่ได้จ่ายเป็นเปอร์เซ็นต์ของผลกำไร แต่จ่ายเป็นเปอร์เซ็นต์ของมูลค่าหุ้นของบริษัท ดังนั้นผลตอบแทนจากเงินปันผลที่อยู่ในรูปของเปอร์เซ็นต์ของมูลค่าตลาด (Market value) จึงค่อนข้างต่ำ เฉลี่ยเพียง 1-2% เท่านั้น
การบริหารจัดการตนเองในบริษัทญี่ปุ่น (Management Autonomy in Japanese Companies) ข้อได้เปรียบที่สำคัญประการหนึ่งของการบริหารจัดการในบริษัทญี่ปุ่นซึ่งเหนือกว่าการบริหารจัดการในบริษัทอเมริกา คือ ความสัมพันธ์กับผู้ถือหุ้น (Shareholders) เนื่องจากบริษัทในญี่ปุ่นจะมีลักษณะของการแข่งขันกัน โดยผู้บริหารจะทุ่มเทเวลาในการทำงานเพื่อแข่งขันกับบริษัทอื่นทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยปราศจากความกังวลเกี่ยวกับความพึงพอใจและผลประโยชน์ตอบแทนของผู้ถือหุ้น การบริหารจัดการจะไม่เอื้อประโยชน์ต่อพนักงานที่ทำงานหรือสร้างผลผลิตให้กับบริษัทได้น้อย นอกจากนี้ผู้เป็นเจ้าของบริษัทญี่ปุ่น จะมีอิทธิพลต่อบริษัทอย่างมาก ซึ่งตรงกันข้ามกับประเทศแถบตะวันตก Matsumoto ได้กล่าวไว้ว่า “การบริหารจัดการตนเอง (Managerial Autonomy) เป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้บริหารระดับสูงของระบบในบริษัทญี่ปุ่น (Japanese Corporate System) จะต้องดำเนินการบริหารจัดการตนเอง ซึ่งเป็นหลักสำคัญของระบบทุนนิยม”ในประเทศแถบตะวันตก ผู้เป็นเจ้าของจะไม่เข้าไปเกี่ยวข้องในการบริหารจัดการบริษัท ซึ่งในบริษัทอเมริกาผู้อำนวยการ (Directors) จะแต่งตั้งคณะกรรมการจากภายนอกบริษัท โดยคณะกรรมกาจะทำหน้าที่ควบคุมตรวจสอบ (Monitor) การดำเนินงานของบริษัท และเข้าแทรกแซงในกรณีที่มีการบริหารงานผิดพลาดหรือไม่มีประสิทธิภาพ (Mismanagement) ผู้ถือหุ้นชาวอเมริกันคาดหวังที่จะได้รับผลตอบแทนจากผลกำไรของบริษัทในลักษณะของการจ่ายเงินปันผล (Dividend Payments) บริษัทอเมริกาส่วนใหญ่จะพิจารณาจ่ายเงินปันผลในอัตรา 50% ของผลกำไร ซึ่งอัตราและระดับของการจ่ายเงินปันผลจะเป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ และแสดงถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของบริษัท
การบริหารจัดการในบริษัทของสหรัฐอเมริกาจะใช้วิธีการจูงใจให้ผู้บริหารปรับปรุงผลกำไรอยู่เสมอโดยการให้ผลประโยชน์แก่ผู้บริหารในรูปของการถือหุ้น สิทธิในการถือหุ้นของบริษัท (Stock Options) และผลกำไรอื่น ๆ เช่น แผนการจ่ายโบนัส เพื่อเป็นรางวัลแก่ผู้บริหารระดับสูงที่สามารถบริหารจัดการบริษัทให้ได้รับผลกำไร เนื่องจากตลาดหุ้นของอเมริกามีแนวโน้มในการจ่ายผลกำไรต่อหุ้นสูง ผู้บริหารระดับสูงจึงได้รับการกระตุ้นให้ปรับปรุงผลกำไรให้เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ การเปลี่ยนแปลงในผลกำไรมีผลกระทบต่อราคาหุ้น ดังนั้นจึงสัมพันธ์กับการบริหารจัดการโปรแกรมการจ่ายโบนัส ระบบบริษัทอเมริกันเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดในการร่วมมือกันระหว่างผู้ถือหุ้นและผู้บริหารระดับสูงของบริษัท โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บริษัทมีผลกำไรสูงสุด ผู้ถือหุ้นต้องอาศัยการทำงานของผู้บริหารระดับสูงอย่างมาก โดยพวกเขาจะให้รางวัลแก่ผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จในการเพิ่มผลกำไร ซึ่งผู้บริหารระดับสูงของบริษัทอเมริกาก็จะได้รับผลตอบแทนที่คุ้มค่าเช่นกัน
สำหรับสถานการณ์ในบริษัทญี่ปุ่นจะมีความแตกต่างจากบริษัทอเมริกัน โดยผู้ถือหุ้นสามัญ (Common Stock Shareholders) ของบริษัทญี่ปุ่นจะคล้ายกับผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock Shareholders) ของบริษัทอเมริกา ซึ่งผู้ถือหุ้นของบริษัทญี่ปุ่นจะคาดหวังผลตอบแทนที่เหมาะสมจากการลงทุนในรูปของเงินปันผล อย่างไรก็ตามการจ่ายเงินปันผลไม่ได้จ่ายเป็นเปอร์เซ็นต์ของผลกำไร แต่จ่ายเป็นเปอร์เซ็นต์ของมูลค่าหุ้นของบริษัท ดังนั้นผลตอบแทนจากเงินปันผลที่อยู่ในรูปของเปอร์เซ็นต์ของมูลค่าตลาด (Market value) จึงค่อนข้างต่ำ เฉลี่ยเพียง 1-2% เท่านั้น
การบริหารสไตล์อเมริกัน (Type A)
1.การจ้างงานช่วงเวลาสั้น คือเขามักจะไม่จ้างคนทำงานนาน เพราะทำให้ค่าจ้างแพง แต่จ้างเป็นระยะเวลาช่างสั้น ๆ แทน
2.การประเมินและเลื่อนขั้นเร็ว ถึงแม้จะจ้างงานช่วงระยะเวลาสั้น ๆ แต่สไตล์อเมริกัน เขาจะประเมินผลงาน และเลื่อนขั้นไว เรียกว่า ใครทำงานเก่ง แม้ไม่ต้องอาวุโส แต่อาจเลื่อนขั้นเป็นผู้บริหารระดับสูงได้อย่างรวดเร็ว
3.ให้ความสำคัญมากกับอาชีพ ให้ความชำนาญเฉพาะทาง หมายถึง ใครทำอาชีพไหนก็ตาม ต้องมีความรู้ ความชำนาญ ระดับ “มืออาชีพ” จึงจะอยู่รอด ได้รับการจ้าง และได้ผลตอบแทนจากการทำงานที่คุ้มค่า
4.เอกบุคคลเป็นผู้ตัดสินใจ การตัดสินใจขึ้นอยู่กับผู้บริหารสูงสุด หรือเป็นการตัดสินใจโดยคน ๆ เดียว
5.ความรับผิดชอบเป็นภาระของเอกบุคคล เมื่อการตัดสินใจขึ้นอยู่กับ “เอกบุคคล” ดังนั้น หากมีอะไรผิดพลาดบกพร่อง คนที่รับผิดชอบคือคนที่ตัดสินใจ
6.ใช้กลไกควบคุมที่เห็นกันชัด ๆ กล่าวคือ การควบคุมต่าง ๆ จะมีระบบการควบคุมที่เปิดเผย ทุกคนเห็นโดยทั่วไปว่าจะเป็นการความคุมโดยคน หรือเครื่องจักรก็ตาม
7.แบ่งความเกี่ยวข้องกับคนทำงานเป็นส่วน ๆ ไป คือให้ความสำคัญแยกเป็นส่วน ๆ ย่อย ๆ แต่ละแผนก แต่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
1.การจ้างงานช่วงเวลาสั้น คือเขามักจะไม่จ้างคนทำงานนาน เพราะทำให้ค่าจ้างแพง แต่จ้างเป็นระยะเวลาช่างสั้น ๆ แทน
2.การประเมินและเลื่อนขั้นเร็ว ถึงแม้จะจ้างงานช่วงระยะเวลาสั้น ๆ แต่สไตล์อเมริกัน เขาจะประเมินผลงาน และเลื่อนขั้นไว เรียกว่า ใครทำงานเก่ง แม้ไม่ต้องอาวุโส แต่อาจเลื่อนขั้นเป็นผู้บริหารระดับสูงได้อย่างรวดเร็ว
3.ให้ความสำคัญมากกับอาชีพ ให้ความชำนาญเฉพาะทาง หมายถึง ใครทำอาชีพไหนก็ตาม ต้องมีความรู้ ความชำนาญ ระดับ “มืออาชีพ” จึงจะอยู่รอด ได้รับการจ้าง และได้ผลตอบแทนจากการทำงานที่คุ้มค่า
4.เอกบุคคลเป็นผู้ตัดสินใจ การตัดสินใจขึ้นอยู่กับผู้บริหารสูงสุด หรือเป็นการตัดสินใจโดยคน ๆ เดียว
5.ความรับผิดชอบเป็นภาระของเอกบุคคล เมื่อการตัดสินใจขึ้นอยู่กับ “เอกบุคคล” ดังนั้น หากมีอะไรผิดพลาดบกพร่อง คนที่รับผิดชอบคือคนที่ตัดสินใจ
6.ใช้กลไกควบคุมที่เห็นกันชัด ๆ กล่าวคือ การควบคุมต่าง ๆ จะมีระบบการควบคุมที่เปิดเผย ทุกคนเห็นโดยทั่วไปว่าจะเป็นการความคุมโดยคน หรือเครื่องจักรก็ตาม
7.แบ่งความเกี่ยวข้องกับคนทำงานเป็นส่วน ๆ ไป คือให้ความสำคัญแยกเป็นส่วน ๆ ย่อย ๆ แต่ละแผนก แต่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ลักษณะที่สำคัญของทฤษฎี Z
1.ระยะเวลาจ้างงานระยะยาว เป็นไปตลอดชีพ (Lifetime Employment)
ไม่มีข้อผูกมัดหรือเงื่อนไขทางสังคม ที่ทำให้คนงานจะย้ายงานไม่ได้หรือลำบากใจ ย้ายงานอย่างในญี่ปุ่น
2.การประเมินและเลื่อนตำแหน่ง (Slow Evaluation and Promotion)
การเลื่อนขั้นเป็นไปอย่างเร็วปานกลาง แต่จะไม่ช้าขนาด 10 ถึง 15 ปี ระยะเวลาเลื่อนขั้นต่าง ๆ จะสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม แต่การมีเวลาทิ้งช่วงช่วยให้พนักงานได้เห็นผลประโยชน์ และการประเมินผลงานของแผนงานระยะกลางและระยะยาว
3.ลักษณะงานอาชีพ (Non specialized Career Paths)
แนวทางอาชีพกึ่งเฉพาะด้าน เพราะไม่ถึงกับต้องหมุนเวียนไปทำงานทุก ๆ อย่างในบริษัท หรือกระทั่งไปทำบริษัทอื่นในเครือหรือสาขาอื่น แต่เปิดโอกาสให้พนักงานของตนได้มีประสบการณ์ในสายงานหนึ่ง ตั้งแต่การออกแบบ การผลิต และกระทั่งการวางตลาด ประสบการณ์เหล่านี้ช่วยให้เกิดความพอใจที่จะอยู่ในบริษัทนั้นมากยิ่งขึ้น
4.การบริหารมีระบบการควบคุมที่ไม่มีรูปแบบ (Implicit Control Mechanisms)
เป็นการควบคุมการบริหารแบบอเมริกัน ใช้ระบบ MBO กลไกการควบคุมงานอยู่ในจุดสมดุล ระหว่างแบบทางตรงและแบบทางอ้อม โดยสร้างให้เกิดบรรยากาศของความไว้วางใจ (trusts) ขึ้นในองค์การ
5.การตัดสินใจแบบมีส่วนร่วม (Consensual Decision Making)
มีทั้งแบบรวมอำนาจและกระจายอำนาจ โดยมีการรับฟังข้อคิดเห็นจากทุก ๆ คนที่เกี่ยวข้องก่อน และคนที่รับผิดชอบจะเป็นคนตัดสินใจเองในที่สุด
6.การทำงานและมนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ
มีอิสระเป็นตัวของตัวเอง มีเสรีภาพเท่าเทียมกันยึดหลัก ซื่อสัตย์ต่อกัน (Trust) ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (subtlety) ความใกล้ชิดและเป็นกันเอง (intimacy) ไม่เน้นถึงการปฏิบัติต่อกันในระหว่างผู้ใต้บังคับบัญชากับผู้บังคับบัญชา โดยเพิ่มความเอาใจใส่ต่อบุคคลใต้บังคับบัญชามากยิ่งขึ้น และเน้นการประสานงานกันในระหว่างคนในระดับเดียวกัน ให้ทุก ๆ คนปฏิบัติต่อกันในฐานะ คนกับคน มิใช่ในฐานะ เจ้านายกับลูกน้อง
1.ระยะเวลาจ้างงานระยะยาว เป็นไปตลอดชีพ (Lifetime Employment)
ไม่มีข้อผูกมัดหรือเงื่อนไขทางสังคม ที่ทำให้คนงานจะย้ายงานไม่ได้หรือลำบากใจ ย้ายงานอย่างในญี่ปุ่น
2.การประเมินและเลื่อนตำแหน่ง (Slow Evaluation and Promotion)
การเลื่อนขั้นเป็นไปอย่างเร็วปานกลาง แต่จะไม่ช้าขนาด 10 ถึง 15 ปี ระยะเวลาเลื่อนขั้นต่าง ๆ จะสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม แต่การมีเวลาทิ้งช่วงช่วยให้พนักงานได้เห็นผลประโยชน์ และการประเมินผลงานของแผนงานระยะกลางและระยะยาว
3.ลักษณะงานอาชีพ (Non specialized Career Paths)
แนวทางอาชีพกึ่งเฉพาะด้าน เพราะไม่ถึงกับต้องหมุนเวียนไปทำงานทุก ๆ อย่างในบริษัท หรือกระทั่งไปทำบริษัทอื่นในเครือหรือสาขาอื่น แต่เปิดโอกาสให้พนักงานของตนได้มีประสบการณ์ในสายงานหนึ่ง ตั้งแต่การออกแบบ การผลิต และกระทั่งการวางตลาด ประสบการณ์เหล่านี้ช่วยให้เกิดความพอใจที่จะอยู่ในบริษัทนั้นมากยิ่งขึ้น
4.การบริหารมีระบบการควบคุมที่ไม่มีรูปแบบ (Implicit Control Mechanisms)
เป็นการควบคุมการบริหารแบบอเมริกัน ใช้ระบบ MBO กลไกการควบคุมงานอยู่ในจุดสมดุล ระหว่างแบบทางตรงและแบบทางอ้อม โดยสร้างให้เกิดบรรยากาศของความไว้วางใจ (trusts) ขึ้นในองค์การ
5.การตัดสินใจแบบมีส่วนร่วม (Consensual Decision Making)
มีทั้งแบบรวมอำนาจและกระจายอำนาจ โดยมีการรับฟังข้อคิดเห็นจากทุก ๆ คนที่เกี่ยวข้องก่อน และคนที่รับผิดชอบจะเป็นคนตัดสินใจเองในที่สุด
6.การทำงานและมนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ
มีอิสระเป็นตัวของตัวเอง มีเสรีภาพเท่าเทียมกันยึดหลัก ซื่อสัตย์ต่อกัน (Trust) ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (subtlety) ความใกล้ชิดและเป็นกันเอง (intimacy) ไม่เน้นถึงการปฏิบัติต่อกันในระหว่างผู้ใต้บังคับบัญชากับผู้บังคับบัญชา โดยเพิ่มความเอาใจใส่ต่อบุคคลใต้บังคับบัญชามากยิ่งขึ้น และเน้นการประสานงานกันในระหว่างคนในระดับเดียวกัน ให้ทุก ๆ คนปฏิบัติต่อกันในฐานะ คนกับคน มิใช่ในฐานะ เจ้านายกับลูกน้อง
ข้อดี / ข้อเสีย (Strong point / Distinctive point)
ข้อดี ในการทำงานกับโรงงานแบบตะวันตก • ค่าตอบแทน สูง เมื่อเทียบกับ โรงงานในกลุ่มอื่นๆ • เวลาทำงานและหน้าที่รับผิดชอบที่ชัดเจน • ข้อกำหนดและกฏระเบียบในการทำงานที่ชัดเจน • มีความอิสระทางความคิดและการตัดสินใจ • การประเมินผลที่ชัดเจนเป็นระบบ • ได้ใช้ภาษาต่างประเทศ ทำให้เพิ่มทักษะ ทางด้านภาษา • มีโอกาศ ได้เปิดโลกทัศน์ ในหลายๆด้าน ถ้าได้มีโอกาสไปดูงานต่างประเทศ • ส่งเสริมการอบรมในการทำงานในทุกๆด้าน เป็นความรู้ความสามารถติดตัวไปตลอด • มีทุนหรืองบประมาณที่มากในการส่งเสริมการพัฒนาและ การวิจัย ในด้านเทคโนโลยี่เพื่อประยุคต์ ในกระบวนการผลิต ทำให้บุคคลเพิ่ม ความรู้และประสบการณ์
ข้อดี ในการทำงานกับโรงงานแบบตะวันตก • ค่าตอบแทน สูง เมื่อเทียบกับ โรงงานในกลุ่มอื่นๆ • เวลาทำงานและหน้าที่รับผิดชอบที่ชัดเจน • ข้อกำหนดและกฏระเบียบในการทำงานที่ชัดเจน • มีความอิสระทางความคิดและการตัดสินใจ • การประเมินผลที่ชัดเจนเป็นระบบ • ได้ใช้ภาษาต่างประเทศ ทำให้เพิ่มทักษะ ทางด้านภาษา • มีโอกาศ ได้เปิดโลกทัศน์ ในหลายๆด้าน ถ้าได้มีโอกาสไปดูงานต่างประเทศ • ส่งเสริมการอบรมในการทำงานในทุกๆด้าน เป็นความรู้ความสามารถติดตัวไปตลอด • มีทุนหรืองบประมาณที่มากในการส่งเสริมการพัฒนาและ การวิจัย ในด้านเทคโนโลยี่เพื่อประยุคต์ ในกระบวนการผลิต ทำให้บุคคลเพิ่ม ความรู้และประสบการณ์
ข้อเสีย ในการทำงานกับโรงงานแบบตะวันตก
• การประเมินผลงาน เป็นตามผลงาน ฉะนั้น อาจไม่เหมาะกับคนที่ ทำงานเลื่อยๆ • วัฒนธรรมบ้างอย่าง ต้องปรับระหว่างกัน • ความรับผิดชอบในการทำงานสูง ต้องรอบครอบในการทำงาน • มีความอิสระทางความคิดและการตัดสินใจ แต่เป็นดาบสองคม ต้องเรียนรู้ ในงานและใช้ประสบการณ์ ในการพิจารณา ในงานต่างๆด้วย (อาจตัดสินใจผิดพลาด แต่อย่าเสียกำลังใจ และเรียนรู้ต่อไป เพราะ บ้างคนอาจกลัวจนไม่กล้าตัดสินใจ อาจทำให้ งานไม่เดิน ฉะนั้น การตัดสินใจใดๆ ต้องอ้างอิงจากข้อมูลเป็นหลัก • การประเมินผลที่ชัดเจนเป็นระบบ แต่อย่างไรก็ อิงกลุ่ม เพื่อทำให้เกิดการแข่งขัน พัฒนาความสามารถส่วนบุคคล ยังผลสู่บริษัท • ได้ใช้ภาษาต่างประเทศ แต่ ก็เป็นอุปสรรค ในการสื่อสารที่ชัดเจนเช่นกัน • ส่งเสริมการอบรมในการทำงานในทุกๆด้าน สร้างบุคคลกรที่มีคุณภาพ แต่ก็ เกิดสมองไหลได้ง่าย ทำให้ต้องหาบุคคลกรทดแทน อยู่ตลอด ทำให้ขาดบุคคลกรที่มีความรู้เชิงลึกเฉพาะด้าน หรือ มีน้อย
• การประเมินผลงาน เป็นตามผลงาน ฉะนั้น อาจไม่เหมาะกับคนที่ ทำงานเลื่อยๆ • วัฒนธรรมบ้างอย่าง ต้องปรับระหว่างกัน • ความรับผิดชอบในการทำงานสูง ต้องรอบครอบในการทำงาน • มีความอิสระทางความคิดและการตัดสินใจ แต่เป็นดาบสองคม ต้องเรียนรู้ ในงานและใช้ประสบการณ์ ในการพิจารณา ในงานต่างๆด้วย (อาจตัดสินใจผิดพลาด แต่อย่าเสียกำลังใจ และเรียนรู้ต่อไป เพราะ บ้างคนอาจกลัวจนไม่กล้าตัดสินใจ อาจทำให้ งานไม่เดิน ฉะนั้น การตัดสินใจใดๆ ต้องอ้างอิงจากข้อมูลเป็นหลัก • การประเมินผลที่ชัดเจนเป็นระบบ แต่อย่างไรก็ อิงกลุ่ม เพื่อทำให้เกิดการแข่งขัน พัฒนาความสามารถส่วนบุคคล ยังผลสู่บริษัท • ได้ใช้ภาษาต่างประเทศ แต่ ก็เป็นอุปสรรค ในการสื่อสารที่ชัดเจนเช่นกัน • ส่งเสริมการอบรมในการทำงานในทุกๆด้าน สร้างบุคคลกรที่มีคุณภาพ แต่ก็ เกิดสมองไหลได้ง่าย ทำให้ต้องหาบุคคลกรทดแทน อยู่ตลอด ทำให้ขาดบุคคลกรที่มีความรู้เชิงลึกเฉพาะด้าน หรือ มีน้อย
ความเป็นมาของทฤษฎี Z
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีเหตุการณ์ที่สำคัญในด้านธุรกิจประการหนึ่งเกิดขึ้น คือ ผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรมของประเทศญี่ปุ่นได้เพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี และเพิ่มขึ้นในอัตราสูง แต่ในขณะที่อุตสาหกรรมในอเมริกากลับเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำมาก และต่ำกว่าอัตราผลผลิตของประเทศต่าง ๆ ในยุโรป นักธุรกิจชาวอเมริกันได้ตระหนักถึงความจริงในเรื่องนี้ จึงได้พยายามศึกษาค้นคว้าหาวิธีต่าง ๆ ที่จะนำมาแก้ไจสถานการณ์ เพื่อความอยู่รอดขององค์การ
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีเหตุการณ์ที่สำคัญในด้านธุรกิจประการหนึ่งเกิดขึ้น คือ ผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรมของประเทศญี่ปุ่นได้เพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี และเพิ่มขึ้นในอัตราสูง แต่ในขณะที่อุตสาหกรรมในอเมริกากลับเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำมาก และต่ำกว่าอัตราผลผลิตของประเทศต่าง ๆ ในยุโรป นักธุรกิจชาวอเมริกันได้ตระหนักถึงความจริงในเรื่องนี้ จึงได้พยายามศึกษาค้นคว้าหาวิธีต่าง ๆ ที่จะนำมาแก้ไจสถานการณ์ เพื่อความอยู่รอดขององค์การ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น